TFFA:ข่าวประจำวันที่ 28-29 พฤษภาคม 2562

สวัสดี พี่น้องชาว TRF ทุกท่านตอนนี้สถานะการณ์หลายๆอย่างรอบๆตัวเรามีการเปลี่ยนแปลงแบบที่ต้องเตรียมตัวรับมือ เพื่อการปรับตัวในการใช้ชีวิตให้ทันกับสถานะการณ์ที่จะเกิดขึ้นรวมถึงองค์กรของเราเองด้วยนะคะ การติดตามข่าวสารในด้านต่างๆก็เป็นแนวทางนึงในการรับทราบข้อมูลไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านเศรฐกิจ การเมือง ดังนั้นวันนี้ทางแอดมินจึงนำข่าวจากทาง TFFA มาให้อ่านกันค่ะ รายละเอียดข่าวสามารถเปิดได้ตามลิงค์นี้ข่าวประจำวันที่ 28-29 พฤษภาคม 2562    

Read More

มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ

เนื่องจากช่วงนี้ทางบริษัทมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่ผลิตขึ้นมาเพื่อตอบสนองกลุ่มลูกค้าในประเทศจีน วันนี่ทางแอดมินจึงนำเอามาตรฐานสินค้าทางการเกษตรมาให้ศึกษากันนะคะว่ามีวิธีการคัดเลือกสินค้าและข้อกำหนดอะไรบ้างในการใช้วัตถุดิบแต่ละชนิดในการผลิตสินค้าใหม่ของเราคือ ข้าวเหนียวทุเรียน ข้าวเหนียวมะม่วง และอาจจะมี กล้วยปิ้ง ตามมาติดๆนะคะ มาตรฐานกล้วย (TACFS.0006-2005_banana) มาตรฐานมะม่วง   (มกษ 5 2558 มะม่วง) มาตรฐานสินค้าข้าว 2559  (กระทรวงพาณิชย์) มกษ 4004 2560 มาตรฐานข้าวไทย    

Read More

จุลินทรีย์ก่อโรค (PATHOGEN)

มารู้จัก จุลินทรีย์ก่อโรค (PATHOGEN) อีกตัวนึงที่เราคุ้นหูชื่อนี้กันดี ไม่ว่าจะมีการอบรมเรื่อง จุลินทรีย์ก่อโรค (PATHOGEN) ครั้งไหนๆก็จะมีชื่อ salmonella ติดโผอยู่ด้วยตลอดลองเปิดอ่านดูกันนะคะ ว่าเจ้า salmonella มันมีที่มาที่ไปกันอย่างไร salmonella (Click)   CR: สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม โทร. 0-2886-8088 ต่อ 3106 – 5500 http://fic.nfi.or.th/foodsafety อีโคไล  Escherichia coli (Click) CR: ดร.ภญ.เกษร เทพแปง นักวิชาการแรงงานชำนาญการ สำนักความปลอดภัยแรงงาน

Read More

จุลินทรีย์

  จุลินทรีย์ (microorganism) อาศัยร่วมอยู่ในโลกเรามาแต่สมัยดึกดำบรรพ์ เป็นสิ่งมีชีวิตที่น่าอัศจรรย์ จุลินทรีย์มีขนาดเล็ก เล็กขนาดที่ว่าไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จำเป็นต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ จุลินทรีย์ที่เราพอทราบทั่วๆไปก็คือ จำพวก แบคทีเรีย อาร์เคีย รา และ ยีสต์ เป็นต้น เราสามารถพบจุลินทรีย์ได้ทุกสภาวะแวดล้อม แม้แต่ในร่างกายคน สัตว์ รวมไปถึงสภาวะแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตอื่นอยู่ไม่ได้ เช่น ใต้ทะเลน้ำลึก ในปล่องภูเขาไฟ ในน้ำแข็งเย็นจัด บริเวณที่มีสภาพความเป็นกรดด่างสูง หรือแม้กระทั่งในบริเวณที่ไม่มีออกซิเจน ก็ยังสามารถค้นพบจุลินทรีย์อาศัยอยู่ได้ แล้วจุลินทรีย์สำคัญยังไง ? หน้าที่หลักๆทั่วไปของ …

Read More

คอลัมน์ มันมากับอาหาร…

โดย ไทยรัฐ+สถาบันอาหารโครงการอาหารปลอดภัย      21 ธ.ค. 2561 05:01 น. ตั้งแต่เดือนมกราคม–พฤศจิกายน 2561 คอลัมน์มันมากับอาหารได้ลงเผยแพร่บทความที่แสดงผลการวิเคราะห์สารเคมี สารพิษ เชื้อก่อโรค ที่ตกค้างและปนเปื้อนในอาหาร รวมถึงผลวิเคราะห์สารอาหารชนิดต่างๆ ในตัวอย่างอาหารที่สถาบันอาหารสุ่มเก็บจากร้านค้าในตลาดสด ซุปเปอร์มาร์เกต ห้างสรรพสินค้า หาบเร่ แผงลอยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล กว่า 46 ชนิด ผลการวิเคราะห์ที่ได้ มีทั้งตรวจไม่พบสารเคมีหรือสารพิษตกค้าง หรือไม่พบเชื้อก่อโรคปนเปื้อน หรือพบแต่ยังไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน หรือพบเกินเกณฑ์มาตรฐานของประกาศกระทรวงสาธารณสุขไทย หรือเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาของอาหารและภาชนะสัมผัสอาหารของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ช่วง …

Read More

มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน กระทรวงอุตสาหกรรม

        ด้วยปีที่ผ่านมาทางบริษัทของเราได้มีการผลิตสินค้าที่หลากหลายมากขึ้นไม่ว่าจะเป็น ต้มข่า ต้มยำ ซอสแกงแพนง-แกงเขียวหวาน ดังนั้นเราจึงได้มีการใช้วัตถุดิบที่หลากหลายขึ้นตามผลิตภัณฑ์ใหม่ๆที่เราได้ผลิตให้ลูกค้า วันนี้ทางแอดมินจึงพาเรามารู้จักมาตรฐานผลิตภัณฑ์จาก มผช.(หรือที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สินค้า OTOP นั่นเอง)ที่ทางบริษัทของเราได้นำมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้ากันนะคะ ความหมายของมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชม มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน คือ ข้อกำหนดด้านคุณภาพที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นที่เชื่อถือ เป็นที่ยอมรับ และสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ โดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด และสอดคล้องกับนโยบาย OTOP โดยในแต่ละผลิตภัณฑ์ก็จะมีข้อกำหนดที่แตกต่างกันออกไป ผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานชุมชนที่บางส่วนใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตของเรา น้ำมะขาม TAMARIND DRINK (มผช.125/2556) (คลิก) …

Read More

ประกาศกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ประกาศกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง เกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาของอาหารและภาชนะสัมผัสอาหาร ฉบับที่ ๓ (11 มกราคม 2560)   (คลิก) CR: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ http://www.dmsc.moph.go.th/dmscnew/news_detail.php?cid=2&id=1646

Read More

มาตรฐานสินค้าเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สารพิษตกค้าง : ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด (9002-2559)  (คลิก) ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจากสาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ (9003-2547) (คลิก) พริก (มกษ.1502-2560) (คลิก) ข้าวโพดฝักอ่อน (มกอช.1504-2550) (คลิก) เห็ดหอมสด (มกอช.1506-2551) (คลิก) กระเทียม (มกอช.1508-2551) (คลิก) หอมแดง (มกอช.1509-2551) (คลิก) หอมหัวใหญ่ (มกอช.1510-2551)  (คลิก) ฟักทอง (มกษ.1513-2555) (คลิก)  เห็กฟาง (มกษ.1515-2558) (คลิก)  มะนาว (มกษ.27-2560) (คลิก) เนื้อไก่ (มกอช.6700-2548) (คลิก) ไข่ไก่ …

Read More

กฎหมายอาหาร (Food Law)

ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับการผลิตของบริษัท   เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานของกฎหมายที่กำหนดไว้ ทางแอดมินจึงได้นำประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องมาให้ทางพนักงานหรือผู้ที่สนใจได้ศึกษากันดูค่ะ ว่าเราต้องผลิตสินค้าออกมาภายใต้ข้อกำหนดอะไรบ้างนะคะ ฉบับที่ 61 พ.ศ.2524 เรื่อง น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท (คลิก)    ฉบับที่ 78 พ.ศ.2527 เรื่อง น้ําแข็ง (คลิก) ฉบับที่ 182 พ.ศ.2541 เรื่อง ฉลากโภชนาการ  (คลิก) ฉบับที่ 193 พ.ศ.2543 เรื่อง วธิีการผลิต เครื่องมอเครื่องมือใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร (คลิก) ฉบับที่ …

Read More

ภัยเงียบ “แบคทีเรียดื้อยา” ในเนื้อหมู ลุ้นตายฟรีทุกมื้อ ที่ซุปเปอร์มาร์เก็ตใกล้บ้าน

ThaiPR.net — พฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม 2561 12:19:32 น. องค์กรพิทักษ์สัตว์แห่งโลก (World Animal Protection) เผยว่าการใช้ยาปฏิชีวนะเกินขนาดในฟาร์มเลี้ยงหมูคุณภาพต่ำ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิด “เชื้อแบคทีเรียดื้อยา” หรือ ซูเปอร์บักส์ (Superbugs) ขึ้น ซึ่งทำให้ยาปฏิชีวนะทำงานไม่ได้ผล ซึ่งผู้ป่วยที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ จะมีอาการรุนแรงและมีโอกาสเสียชีวิตสูง วิกฤติซูเปอร์บักส์ นี้กำลังระบาดทั่วโลกและคร่าชีวิตคนปีละกว่า 700,000 คน ในปี พ.ศ. 2561 องค์กรฯ …

Read More